กาแลกซี
กาแลกซี่ หรือดาราจักร (Galaxy) กาแลกซี่ คือ ระบบที่กว้างใหญ่ไพศาล ประกอบด้วยดาวฤกษ์ กระจุกดาวฤกษ์ ก๊าซและฝุ่น ท้องฟ้า ที่เรียกว่า เนบิวลา และที่ว่าง (Space) รวมกันอยู่ในระบบเดียวกัน เพราะมีแรงโน้มถ่วงซึ่งกันและกัน กาแลกซี่ ถือเป็นองค์ประกอบหนึ่งของเอกภพเกิดมาเมื่อประมาณ 18,000 ล้านปีมาแล้ว
โดยรอบท้องฟ้า ( คือ ดวงดาวประมาณแสนดวง) กาแลกซี่ทางช้างเผือก เป็นกาแลกซี่แบบกังหัน เนื่องจากมองด้านบนและด้านล่างจะเห็นว่ามีโครงสร้างเป็นรูปจาน หรือจักร หรือขดหอย (Spiral Structure) โดยจุดศูนย์กลางจะเป็นรูปวงรี (Ellipsoid) มีความยาวถึง 100,000 ปีแสงดวงอาทิตย์ของเราอยู่ทางแขนด้านขวาห่างใจกลางของกาแลกซี่ประมาณ 30,000 ปี
ทฤษฎีนี้ตั้งขึ้นจากนักวิทยาศาสตร์ ชาวอังกฤษ 3 คน ได แก เฟรด ฮอยด์ (Fred Hoyle) เฮอร์ แมน บอนได (Hermann Bondi) และโทมัส โกลด (Thomas Gold) เมื่อป พ.ศ. 2491 สรุปความว่า จักรวาลไม่มีจุดกําเนิดและไม่มีจุดจบ จักรวาลมีสภาพดังที่เป็นอยู ในปัจจุบันนานแล้ว และจะมี สภาพเช่นนี้ไปตลอดกาล
ประเภทของกาแลกซี่
เมื่อสังเกตจากการนำภาพถ่ายมาวิเคราะห์เราอาจจำแนกชนิดของกาแลกซี่จำแนกประเภทของกาแลกซี่ได้ 3 ประเภทใหญ่ๆ ได้แก่ กาแลกซี่รูปวงกลมรี กาแลกซี่รูปกังหัน และ กาแลกซี่- อสันฐาน
1. กาแลกซี่รูปวงกลมรี (E , elliptical galaxies) ใช้อักษร E แทนกาแลกซี่พวกนี้แล้วต่อท้ายด้วยตัวเลขที่มีความหมายแทน 10 เท่าของความรีของแผ่นกาแลกซี่ที่ปรากฏเรียงลำดับรูปร่าง นับตั้งแต่เป็นทรงกลม E O ไปจนถึงกลมแบน E 7 มองด้านข้างคล้ายเลนส์นูน ( บริเวณตรงกลางสว่างเป็นรูปไข่)
2. กาแลกซี่รูปกังหัน หรือ แบบก้นหอย (S , Spiral galaxies) ใช้อักษร S แทน กาแลกซี่พวกนี้ และแบ่งออกเป็น a , b , c , และ d มีหลักดังนี้ ความหนาแน่นของการขดของแกนกังหัน ความชัดเจนของการเห็นแกนกังหัน - ขนาดของนิวเคลียร์
กาแลกรูปกังหัน แบ่งเป็น 2 ประเภท
2.1 กาแลกซี่รูปกังหันปกติ (Barred Spiral galaxies) บริเวณตรงใจกลางมีลักษณะคล้ายเลนส์นูนทั้งสองหน้า ขอบตรงข้ามมีแขน 2 แขนยืนออกมาแล้วหมุนวนรอบ จุดศูนย์กลางไปทางเดียวกัน ระนาบเดียวกัน และแบ่งออกเป็น 3 ระดับ ได้แก่- จุดกลางสว่าง บริเวณใจกลางขนาดใหญ่แบนบาง แขนม้วนงอชิดกัน เรียกว่า สไปรัล เอส เอ (Spiral Sa) - จุดกลางสว่างไม่มาก มีแขนหลวมๆ สองข้างเบนออกกว้าง เรียกว่า สไปรัล เอส บี (Spiral Sb) เช่น กาแลกซี่ทางช้างเผือก- จุดกลางไม่เด่นชัด บริเวณใจกลางเป็นแกนเหล็ก แขนสองข้างใหญ่ ม้วนตัวอย่างหลวมๆ แยกออกจากกัน เรียกว่า สไปรัล เอส ซี (Spiral Sc)
2.2 กาแลกซี่อสันฐาน หรือไร้รูปร่าง (Irr , Irregular galaxies) ใช้กษร Irr แทน กาแลกซี่พวกนี้ และแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ- กาแลกซี่อสันฐาน1 (Irr I) เป็นกาแลกซี่อสันฐานที่มีสสารอยู่ระหว่างดาวเป็นจำนวนมาก พร้อมดาวฤกษ์อายุน้อยหรือดาวที่เพิ่งเกิดใหม่ มองเห็นเป็นความสว่างกระจัดกระจาย- กาแลกซี่อสันฐาน 2 (Irr II) มีจำนวนน้อย รูปร่างไม่แน่นอน ไม่ปรากฏให้เห็นเป็นดาวแยกเป็นดวงๆ แต่ประกอบด้วยฝุ่นและก๊าซปริมาณมาก ตัวอย่างกาแลกซี่พวกนี้ได้แก่ เมฆแมกเจลเลนใหญ่ และเมฆแมกเจลเลนเล็ก ซึ่งอยู่บนท้องฟ้าซีกโลกใต้ กาแลกซี่สว่างมากๆ ประมาณ 2 ใน 3 จะเป็นกาแลกซี่รูปกังหัน
ร่องรอยของดาราจักรคู่อาร์พ 147 ที่พุ่งชนกัน (ภาพ Hubble/NASA)
การประทะกันของกาแล็กซี ( THE COLLOSION OF GALAXY)
เนื่องจากกาแล็กซีมีจำนวนมาก ส่วนใหญ่คุมกันเป็นกลุ่มเฉพะที่ (local group) และต่างอยู่ค่อนข้างจะใกล้ชิดกัน ดังนั้นจึงมีการ "ปะทะ" กันบ่อย ๆ สิ่งที่เกิดขึ้นจากการปะทะกันก็คือเมื่อกลุ่มกาแล็กซีเคลื่อนเข้ามาใกล้กับอีกกาแล็กซีหนึ่งจนได้ระยะ ความโน้มถ่วงแบบดึงเข้าหาตัว (gravitation pull) ของแต่ละกาแล็กซีในกลุ่มกาแล็กซีนั้นก็จะเริ่มดึงดูดดาวฤกษ์ดวงที่อยู่ไกลสุดของอีกกาแล็กซีที่มันเคลื่อนเข้าหา และยิ่งเข้าใกล้ก็ยิ่งแรงขึ้น ซึ่งในที่สุดก็เป็นผลให้กาแล็กซีนั้นต้องสูญเสียดาวฤกษ์ไปให้กลุ่มกาแล็กซีทีละดวงสองดวง ในกรณีที่ปะทะกันหนัก มวลของดาวฤกษ์ของทั้งสองฝ่ายที่ปะทะกันก็จะก่อให้เกิดกาแล็กซี่ใหม่ขึ้นมาอีก 1 กาแล็กซี
แบบฝึกหัด
1. กาแลกซีคืออะไร และเคลื่อนที่อย่างไร
2. กาแลกซีเกิดขึ้นจากอะไร และเกิดขึ้นเมื่อใด
3. ทางช้างเผือกมีลักษณะอย่างไร จะเห็นได้ในตำแหน่งใดของท้องฟ้า
4. กาแลกซีทางช้างเผือกมีระยะจากขอบหนึ่ง ผ่านจุดศูนย์กลางไปยังอีกขอบหนึ่งประมาณ 100,000 ปีแสง คิดเป็นระยะทางกี่กิโลเมตร
5. ทางช้างเผือกกับกาแลกซีทางช้างเผือก ต่างกันอย่างไร
6. ระบบสุริยะอยู่ในบริเวณใด ห่างจากศูนย์กลางกาแลกซีเท่าไร
7. กาแลกซีแอนโดรเมดา สามารถมองเห็นได้ในบริเวณใด
8. กาแล็กซีแมกเจลแลนใหญ่แตกต่างจากกาแลกซีแอนโดรเมดาอย่างไรบ้าง
9.นักเรียนคิดว่าในกาแลกซีแอนโดรเมดาจะมีระบบดาวเหมือนระบบสุริยะหรือไม่
และจะมีสิ่งมีชีวิตเช่นเดียวกับโลกของเราหรือไม่
10. นักดาราศาสตร์แบ่งกาแลกซีเป็นกี่ประเภท แต่ละประเภทมีรูปร่างอย่างไรบ้าง
กาแลกซี่ หรือดาราจักร (Galaxy) กาแลกซี่ คือ ระบบที่กว้างใหญ่ไพศาล ประกอบด้วยดาวฤกษ์ กระจุกดาวฤกษ์ ก๊าซและฝุ่น ท้องฟ้า ที่เรียกว่า เนบิวลา และที่ว่าง (Space) รวมกันอยู่ในระบบเดียวกัน เพราะมีแรงโน้มถ่วงซึ่งกันและกัน กาแลกซี่ ถือเป็นองค์ประกอบหนึ่งของเอกภพเกิดมาเมื่อประมาณ 18,000 ล้านปีมาแล้ว
โดยรอบท้องฟ้า ( คือ ดวงดาวประมาณแสนดวง) กาแลกซี่ทางช้างเผือก เป็นกาแลกซี่แบบกังหัน เนื่องจากมองด้านบนและด้านล่างจะเห็นว่ามีโครงสร้างเป็นรูปจาน หรือจักร หรือขดหอย (Spiral Structure) โดยจุดศูนย์กลางจะเป็นรูปวงรี (Ellipsoid) มีความยาวถึง 100,000 ปีแสงดวงอาทิตย์ของเราอยู่ทางแขนด้านขวาห่างใจกลางของกาแลกซี่ประมาณ 30,000 ปี
ทฤษฎีนี้ตั้งขึ้นจากนักวิทยาศาสตร์ ชาวอังกฤษ 3 คน ได แก เฟรด ฮอยด์ (Fred Hoyle) เฮอร์ แมน บอนได (Hermann Bondi) และโทมัส โกลด (Thomas Gold) เมื่อป พ.ศ. 2491 สรุปความว่า จักรวาลไม่มีจุดกําเนิดและไม่มีจุดจบ จักรวาลมีสภาพดังที่เป็นอยู ในปัจจุบันนานแล้ว และจะมี สภาพเช่นนี้ไปตลอดกาล
ประเภทของกาแลกซี่
เมื่อสังเกตจากการนำภาพถ่ายมาวิเคราะห์เราอาจจำแนกชนิดของกาแลกซี่จำแนกประเภทของกาแลกซี่ได้ 3 ประเภทใหญ่ๆ ได้แก่ กาแลกซี่รูปวงกลมรี กาแลกซี่รูปกังหัน และ กาแลกซี่- อสันฐาน
1. กาแลกซี่รูปวงกลมรี (E , elliptical galaxies) ใช้อักษร E แทนกาแลกซี่พวกนี้แล้วต่อท้ายด้วยตัวเลขที่มีความหมายแทน 10 เท่าของความรีของแผ่นกาแลกซี่ที่ปรากฏเรียงลำดับรูปร่าง นับตั้งแต่เป็นทรงกลม E O ไปจนถึงกลมแบน E 7 มองด้านข้างคล้ายเลนส์นูน ( บริเวณตรงกลางสว่างเป็นรูปไข่)
2. กาแลกซี่รูปกังหัน หรือ แบบก้นหอย (S , Spiral galaxies) ใช้อักษร S แทน กาแลกซี่พวกนี้ และแบ่งออกเป็น a , b , c , และ d มีหลักดังนี้ ความหนาแน่นของการขดของแกนกังหัน ความชัดเจนของการเห็นแกนกังหัน - ขนาดของนิวเคลียร์
กาแลกรูปกังหัน แบ่งเป็น 2 ประเภท
2.1 กาแลกซี่รูปกังหันปกติ (Barred Spiral galaxies) บริเวณตรงใจกลางมีลักษณะคล้ายเลนส์นูนทั้งสองหน้า ขอบตรงข้ามมีแขน 2 แขนยืนออกมาแล้วหมุนวนรอบ จุดศูนย์กลางไปทางเดียวกัน ระนาบเดียวกัน และแบ่งออกเป็น 3 ระดับ ได้แก่- จุดกลางสว่าง บริเวณใจกลางขนาดใหญ่แบนบาง แขนม้วนงอชิดกัน เรียกว่า สไปรัล เอส เอ (Spiral Sa) - จุดกลางสว่างไม่มาก มีแขนหลวมๆ สองข้างเบนออกกว้าง เรียกว่า สไปรัล เอส บี (Spiral Sb) เช่น กาแลกซี่ทางช้างเผือก- จุดกลางไม่เด่นชัด บริเวณใจกลางเป็นแกนเหล็ก แขนสองข้างใหญ่ ม้วนตัวอย่างหลวมๆ แยกออกจากกัน เรียกว่า สไปรัล เอส ซี (Spiral Sc)
2.2 กาแลกซี่อสันฐาน หรือไร้รูปร่าง (Irr , Irregular galaxies) ใช้กษร Irr แทน กาแลกซี่พวกนี้ และแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ- กาแลกซี่อสันฐาน1 (Irr I) เป็นกาแลกซี่อสันฐานที่มีสสารอยู่ระหว่างดาวเป็นจำนวนมาก พร้อมดาวฤกษ์อายุน้อยหรือดาวที่เพิ่งเกิดใหม่ มองเห็นเป็นความสว่างกระจัดกระจาย- กาแลกซี่อสันฐาน 2 (Irr II) มีจำนวนน้อย รูปร่างไม่แน่นอน ไม่ปรากฏให้เห็นเป็นดาวแยกเป็นดวงๆ แต่ประกอบด้วยฝุ่นและก๊าซปริมาณมาก ตัวอย่างกาแลกซี่พวกนี้ได้แก่ เมฆแมกเจลเลนใหญ่ และเมฆแมกเจลเลนเล็ก ซึ่งอยู่บนท้องฟ้าซีกโลกใต้ กาแลกซี่สว่างมากๆ ประมาณ 2 ใน 3 จะเป็นกาแลกซี่รูปกังหัน
ร่องรอยของดาราจักรคู่อาร์พ 147 ที่พุ่งชนกัน (ภาพ Hubble/NASA)
การประทะกันของกาแล็กซี ( THE COLLOSION OF GALAXY)
เนื่องจากกาแล็กซีมีจำนวนมาก ส่วนใหญ่คุมกันเป็นกลุ่มเฉพะที่ (local group) และต่างอยู่ค่อนข้างจะใกล้ชิดกัน ดังนั้นจึงมีการ "ปะทะ" กันบ่อย ๆ สิ่งที่เกิดขึ้นจากการปะทะกันก็คือเมื่อกลุ่มกาแล็กซีเคลื่อนเข้ามาใกล้กับอีกกาแล็กซีหนึ่งจนได้ระยะ ความโน้มถ่วงแบบดึงเข้าหาตัว (gravitation pull) ของแต่ละกาแล็กซีในกลุ่มกาแล็กซีนั้นก็จะเริ่มดึงดูดดาวฤกษ์ดวงที่อยู่ไกลสุดของอีกกาแล็กซีที่มันเคลื่อนเข้าหา และยิ่งเข้าใกล้ก็ยิ่งแรงขึ้น ซึ่งในที่สุดก็เป็นผลให้กาแล็กซีนั้นต้องสูญเสียดาวฤกษ์ไปให้กลุ่มกาแล็กซีทีละดวงสองดวง ในกรณีที่ปะทะกันหนัก มวลของดาวฤกษ์ของทั้งสองฝ่ายที่ปะทะกันก็จะก่อให้เกิดกาแล็กซี่ใหม่ขึ้นมาอีก 1 กาแล็กซี
แบบฝึกหัด
1. กาแลกซีคืออะไร และเคลื่อนที่อย่างไร
2. กาแลกซีเกิดขึ้นจากอะไร และเกิดขึ้นเมื่อใด
3. ทางช้างเผือกมีลักษณะอย่างไร จะเห็นได้ในตำแหน่งใดของท้องฟ้า
4. กาแลกซีทางช้างเผือกมีระยะจากขอบหนึ่ง ผ่านจุดศูนย์กลางไปยังอีกขอบหนึ่งประมาณ 100,000 ปีแสง คิดเป็นระยะทางกี่กิโลเมตร
5. ทางช้างเผือกกับกาแลกซีทางช้างเผือก ต่างกันอย่างไร
6. ระบบสุริยะอยู่ในบริเวณใด ห่างจากศูนย์กลางกาแลกซีเท่าไร
7. กาแลกซีแอนโดรเมดา สามารถมองเห็นได้ในบริเวณใด
8. กาแล็กซีแมกเจลแลนใหญ่แตกต่างจากกาแลกซีแอนโดรเมดาอย่างไรบ้าง
9.นักเรียนคิดว่าในกาแลกซีแอนโดรเมดาจะมีระบบดาวเหมือนระบบสุริยะหรือไม่
และจะมีสิ่งมีชีวิตเช่นเดียวกับโลกของเราหรือไม่
10. นักดาราศาสตร์แบ่งกาแลกซีเป็นกี่ประเภท แต่ละประเภทมีรูปร่างอย่างไรบ้าง
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น